top of page
Citrus Fruits
GHP 20242 copy.jpg

ประโยชน์ของ GHP HACCP

  • ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการผลิตอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค

  • ลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย ชีวภาพ เคมี กายภาพ และสารก่อภูมิแพ้

  • ป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ใด ๆ ที่มีอยู่ เจริญเติบโตจนทำให้เกิดโรคหรืออาหารเน่าเสียได้ทำให้อาหารมีคุณภาพสูงขึ้น

  • ยืดอายุผลิตภัณฑ์

  • เพิ่มปริมาณการผลิต เนื่องจากสภาพปฏิบัติงานถูกต้อง

  • ใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำลังคน เงินทุน เวลา

  • เป็นที่เชื่อถือของลูกค้า

  • ปฏิบัติสอดคล้องตามกฎหมาย

รับจัดทำระบบ GHP HACCP

GHP ย่อมาจาก Good Hygiene Practice(s) หรือ หลักเกณฑ์การปฏิบัติสุขลักษณะที่ดี คือ ระบบพื้นฐานที่โรงงานผลิตอาหาร หรือผู้ประกอบการที่อยู่ในห่วงโซ่อาหารควรจะนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อส่งมอบอาหารที่มีความปลอดภัยเหมาะสม
HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) คือ ระบบวิเคราะห์อันตรายที่อาจเกิดขึ้นในอาหาร และจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการชี้เฉพาะเจาะจง ประเมิน และควบคุมอันตราย ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในผลิตภัณฑ์อาหารได้

แผนการให้คำปรึกษาและฝึกอบรม (6+2 Man-Day)

Day 1  อบรมข้อกำหนดมาตรฐาน 
            GHP (มีใบประกาศนียบัตร)

Day 2  วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์หรือ
            บริการ และกระบวนการ
            สำรวจสถานประกอบการ
            และสิ่งอำนวยความสะดวก

Day 3  อบรมและจัดทำระบบ
               เอกสารและบันทึก

Day 4  อบรมเรื่องการตรวจประเมิน
            ภายใน Internal Audit 
            (มีใบ
ประกาศนียบัตร)

Day 5  ตรวจประเมินภายใน
           Internal Audit GHP

Day 6  การซ้อมตรวจประเมิน
            Pre-audit

1 Day  อบรมข้อกำหนดมาตรฐาน                HACCP (มีใบประกาศนียบัตร)

HACCP

1 Day  วางแผนงาน HACCP

  • ทำความรู้จักระบบมาตรฐาน GHP

  • หลักการของระบบมาตรฐาน

  • ทำความเข้าใจกับรายละเอียดข้อกำหนดแต่ละข้อ

  • รายละเอียดสินค้า ผลิตภัณฑ์ และบริการ 

  • รายละเอียดกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

  • ระบุอันตรายและกำหนดมาตรการควบคุม

  • การเฝ้าระวังและทวนสอบระบบ

  • ทำเลที่ตั้ง ผังสถานประกอบการ โครงสร้างอาคาร

  • สิ่งอำนวยความสะดวก โครงสร้างพื้นฐาน

  • เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักร

  • สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน

  • ชนิดและความหมายของเอกสารข้อมูล

  • การจัดทำและการปรับปรุง

  • การควบคุมเอกสารข้อมูลและบันทึก

  • จัดทำระบบเอกสารข้อมูลและบันทึก 

  • หลักการในการตรวจประเมิน

  • การบริหารจัดการแผนการตรวจประเมิน

  • การดำเนินการตรวจประเมิน

  • ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ และการประเมินผู้ตรวจ

  • ความไม่สอดคล้องและ ปฏิบัติการแก้ไข

ดำเนินการตรวจติดตามภายในตามแผนการที่วางไว้ โดยที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำจนจบกระบวนการ

จำลองการตรวจประเมินโดยที่ปรึกษา เพื่อยืนยันว่าองค์กรมีความพร้อมก่อนการตรวจประเมินจากหน่วยงานตรวจรับรอง (Certification Body : CB)

  • ทำความรู้จักระบบมาตรฐาน HACCP

  • ทำความเข้าใจกับรายละเอียดข้อกำหนดแต่ละข้อ

  • ประเมินอันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม

  • วางแผนการควบคุมจุดวิกฤต

  • การเฝ้าระวัง ติดตาม และการทวนสอบ ปฏิบัติการแก้ไข

  • จัดทำเอกสารข้อมูลและบันทึก

bottom of page